ไอบีเอ็ม (NYSE: IBM) เปิดเผยถึ งระบบประมวลผลใหม่ IBM Telum ที่ได้รับการออกแบบให้ นำการประมวลผลด้วยโมเดลดีพเลิร์ นนิง (deep learning) มาสู่เวิร์ คโหลดขององค์กร เพื่อให้สามารถรับมือการฉ้ อโกงต่างๆ ได้แบบเรียลไทม์ Telum เป็ นระบบประมวลผลแรกของไอบีเอ็มที่ มี on-chip acceleration สามารถประมวลผลโมเดลเอไอ (AI) ในขณะที่มีการทำธุรกรรมเกิดขึ้น โดยนวัตกรรมฮาร์ดแวร์แบบ on- chip acceleration ที่เป็ นผลมาจากการวิจัยพั ฒนาระยะเวลาสามปีนี้ จะช่วยให้ลูกค้าได้รับมุมมองเชิ งลึกทางธุรกิจ ไม่ว่าจะในการใช้งานในอุ ตสาหกรรมธนาคาร การเงิน การค้า ประกันภัย หรือในงานเกี่ยวกั บการปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าก็ตาม ทั้งนี้ คาดว่าระบบที่ใช้ Telum จะพร้ อมออกสู่ตลาดในช่วงครึ่งปี แรกของปี 2565
ในการวิจัยล่าสุดของโดยมอร์นิ งคอนซัลท์ ที่สนับสนุนโดยไอบีเอ็ม พบว่าสำหรับ 90% ของผู้ที่สำรวจ ความสามารถในการสร้างและรั นโครงการเอไอในที่ที่ข้อมูลนั้ นๆ อยู่ ถือเป็นสิ่งที่มีความสำคั ญ [1] IBM Telum ช่วยให้แอพพลิเคชันต่างๆ สามารถทำงานได้ ณ จุดที่ข้อมูลเหล่านั้นอยู่ ซึ่งเป็นการก้าวข้ ามแนวทางแบบเดิมๆ ที่ต้องอาศัยหน่ วยความจำและความสามารถในการเคลื่ อนย้ายข้อมูลมหาศาล เพื่อประมวลผลโมเดลเอไอ Telum ทำให้accelerator อยู่ใกล้กับข้ อมูล mission critical และแอพพลิเคชันต่างๆ ซึ่งหมายความว่าองค์ กรจะสามารถรั นโมเดลจำนวนมากสำหรับการทำธุ รกรรมที่ข้อมูลมีความอ่อนโยนได้ แบบเรียลไทม์ โดยไม่ต้องเรียกโซลูชั นเอไอจากนอกแพลตฟอร์ม ที่จะส่งผลต่อศั กยภาพการทำงานของระบบ นอกจากนี้ ลูกค้ายังสามารถสร้างและฝึ กโมเดลเอไอได้จากนอกแพลตฟอร์ม และใช้งานหรือรั นโมเดลบนระบบของไอบีเอ็มที่ใช้ Telum เพื่อการวิเคราะห์ได้
นวัตกรรมตอบโจทย์ทั้งธุรกิ จธนาคาร การเงิน การค้า และประกันภัย
ปัจจุบันธุรกิจต่างๆ มักใช้เทคนิคเพื่อตรวจจับเหตุฉ้ อโกงหลังจากที่เหตุได้เกิดขึ้ นแล้ว ซึ่งเป็นกระบวนการที่กิ นเวลาและใช้พลังประมวลผลมากเมื่ อเทียบกับข้อจำกัดด้านเทคโนโลยี ในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อต้องทำการวิ เคราะห์และตรวจจับการฉ้อโกงที่ เกิดขึ้นห่างออกไปจากจุดที่มีข้ อมูลและการทำธุรกรรม mission critical อยู่ นอกจากนี้ ข้อจำกัดเรื่องการดีเลย์ของข้ อมูลขณะเดินทางในเน็ตเวิร์ค ( latency) ทำให้มักไม่ สามารถตรวจจับการฉ้อโกงที่มี ความซับซ้อนได้แบบเรียลไทม์ และนั่นหมายความว่าผู้ประสงค์ร้ ายอาจซื้อสินค้าด้วยบัตรเครดิ ตที่ขโมยมาเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่ห้างร้านจะทราบว่ามี การฉ้อโกงเกิดขึ้น
รายงาน Consumer Sentinel Network Databook ปี 2563 โดยคณะกรรมการการค้ากลาง (Federal Trade Commission) ระบุว่าในปี 2563 ผู้บริโภคได้ รับความเสียหายจากเหตุฉ้ อโกงมากกว่า 3,300 ล้านเหรี ยญสหรัฐ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2562 ถึง 1, 800 ล้านเหรียญสหรัฐ[2] Telum จะช่วยให้ลูกค้าเปลี่ ยนโหมดจากการตรวจหาการฉ้อโกงเป็ นการป้องกันการฉ้อโกง ทำให้ แทนที่จะต้องไล่จับการฉ้อโกงอย่ างทุกวันนี้ องค์กรจะเข้าสู่ยุคใหม่ที่การป้ องกันการฉ้อโกงสามารถเป็นไปได้ ในวงกว้าง โดยไม่กระเทือน service level agreements (SLAs) ก่อนที่การทำธุ รกรรมจะเสร็จสมบูรณ์
ชิปใหม่นี้ มาพร้อมการออกแบบที่เน้นนวั ตกรรมเป็นศูนย์กลาง ช่วยให้ลูกค้าได้รับประโยชน์ จากระบบประมวลผลเอไอสำหรับเวิร์ คโหลดเฉพาะด้านเอไออย่างเต็มที่ ซึ่งสำคัญมากโดยเฉพาะสำหรับเวิ ร์คโหลดด้านการบริการทางการเงิน อย่างเช่นการตรวจจับการฉ้อโกง การประมวลผลระบบสินเชื่อ การชำระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ การค้า การป้องกันการฟอกเงิน และการวิเคราะห์ความเสี่ยง เป็นต้น โดยนวัตกรรมใหม่นี้จะช่วยให้ลู กค้าสามารถยกระดับการตรวจจั บการฉ้อโกงแบบ rule-based หรื อการใช้แมชชีนเลิร์นนิงในปัจจุ บัน ช่วยเร่งกระบวนการอนุมัติบั ตรเครดิต ปรับปรุงการบริการลูกค้าและเพิ่ มความสามารถในการทำกำไร รวมถึงระบุได้ว่าการทำธุ รกรรมหรือการซื้ อขายรายการใดจะไม่สำเร็จ พร้อมนำเสนอกระบวนการชำระเงินที่ มีประสิทธิภาพมากกว่าได้แทน
Telum และแนวทางการออกแบบชิ ปแบบ full-stack ของไอบีเอ็ม
Telum เป็ นผลมาจากการออกแบบและวิ ศวกรรมนวัตกรรมที่สืบเนื่ องมายาวนานของไอบีเอ็ม ตั้งแต่ฮาร์ดแวร์ การร่วมพัฒนาซอฟท์แวร์ ไปจนถึงการบูรณาการด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นซิลิกอน ฮาร์ดแวร์ เฟิร์มแวร์ ระบบปฏิบัติการ ไปจนถึงเฟรมเวิร์คของซอฟต์แวร์
ชิปดังกล่าวมีหน่วยประมวลผล 8 คอร์ มีชุดคำสั่งพิเศษเพื่อเน้ นการประมวลผลข้อมูลเชิงลึกที่ มาพร้อมกับความถี่ ในการประมวลผลสูงกว่า 5GHz ซึ่ งเหมาะกับความต้องการเวิร์ คโหลดที่แตกต่างกันออกไปขององค์ กร ด้วยแคชที่ออกแบบใหม่ทั้งหมด และโครงสร้างพื้นฐานการเชื่อมต่ อชิปที่ 32 MB ต่อคอร์ และสามารถสเกลไปได้ถึง 32 ชิป Telum โดยการออกแบบโมดูล dual- chip ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ จำนวน 2,200 พันล้านตัว และมีสายลวดความยาว 19 ไมล์บนชั้ นโลหะ 17 ชั้น
ผู้นำการพัฒนาเซมิคอนดัคเตอร์
Telum เป็นชิปไอบีเอ็มตัวแรกที่ ใช้เทคโนโลยีที่พัฒนาโดยศูนย์วิ จัยฮาร์ดแวร์เอไอไอบีเอ็มโดยมี ซัมซุงเป็นพาร์ทเนอร์ในการพั ฒนาเทคโนโลยีของระบบประมวลผล Telum ด้วยการพั ฒนาโหนดเทคโนโลยี 7 นาโนเมตร EUV
Telum เป็นอีกตัวอย่างความเป็ นผู้นำด้านเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ของไอบีเอ็ม โดยเมื่อไม่นานมานี้ศูนย์วิจั ยไอบีเอ็ม ซึ่งเป็นหนึ่งในหน่วยงานวิจั ยภาคอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุ ดในโลก ได้ประกาศความสำเร็จในการพั ฒนาชิป 2 นาโนเมตร ซึ่งเป็นมาตรฐานล่าสุดที่ไอบี เอ็มได้สร้างไว้ให้กับนวั ตกรรมด้านซิลิกอนและเซมิคอนดั คเตอร์ โดยศูนย์วิจัยไอบีเอ็มยังได้สร้ างอีโคซิสเต็มความร่วมมือระหว่ างหน่วยงานภาครัฐ-เอกชนชั้นนำขึ้ น ที่ศูนย์วิจัยฮาร์ดแวร์ เอไอของไอบีเอ็มและอัลบานี นาโนเทคคอมเพล็กซ์ ณ เมืองอัลบานี รัฐนิวยอร์ค เพื่อช่วยรับมือกับความต้ องการด้านการผลิตทั่วโลก และเร่งการเติบโตของอุ ตสาหกรรมชิป